ผู้เขียน หัวข้อ: จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นเหม็น ไขมัน ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้ จุลินทรีย์ชีวภา  (อ่าน 178 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ siritidaphon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,553
  • พอยท์: 100
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย ด้วยการใช้ จุลินทรีย์ชีวภาพ ใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียทำให้ลดมลพิษทางน้ำและอากาศ ช่วยให้สภาพแวดล้อมดีกว่า ร่วมมือร่วมใจกันใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีนกันเถอะจะทำให้สังคมลดมลภาวะ

กรณีที่โรงงานใดใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียเป็นประจำหรือใช้บ่อย ขอแนะนำวิธีประหยัดซึ่งจะทำให้โรงงานประหยัดงบประมาณในการลงทุนบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์บำบัดได้อย่างมหาศาลยิ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่จะประหยัดได้ปีละหลายล้านบาท วิธีดังกล่าวที่จะแนะนำคือเราจะสอนให้โรงงานผลิตจุลินทรีย์ขึ้นมาใช้เองได้ที่โรงงานเลย โดยเราจะเป็นผู้สอนและให้คำแนะนำปรึกษาฟรีๆ โดยมีเงื่อนไขคือซื้อหัวเชื้อในการผลิตจากเราอย่างต่อเนื่องและเงื่อนไขอื่นๆ ซึ่งจะทำให้โรงงานของท่านประหยัดและมีระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์บำบัดอย่างเต็มรูปแบบ

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์ชีวภาพ( อีเอ็ม )
ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย ทั้งนี้ จุลินทรีย์แต่ละชนิดสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ต่างกัน เช่น โปรตีน ไขมัน เป็นต้น อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์คือก๊าซ Oxygen (O2) โดยกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะได้ O2 จากอากาศ 3 ทาง ได้แก่

4.1 Thermosiphon หรือการเคลื่อนลงสู่ที่ต่ำของน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ซึ่งจะนำ O2 ลงสู่ที่ต่ำด้วย

4.2 Photosynthesis หรือการสังเคราะห์แสงของพืชและจุลินทรีย์พืชสีเขียวเพื่อผลิตอาหารโดยจะมีการปล่อย O2 ออกมา

4.3 Thermoosmosis หรือการดูด O2 ของรากพืช (rhizosphere) อันเป็นผลจากระดับของความกดอากาศที่แตกต่างกันระหว่างภายในรากพืชกับภายนอก ทำให้ O2 ถูกดูดเข้าไปในพืช

5. การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์และแสงแดดในบ่อ (Lagoon Treatment) แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนตามลำดับของการส่งน้ำ ได้แก่ จากบ่อพักให้ตกตะกอน (Sedimentation Pond) บ่อบำบัด (Oxidation Pond) และสิ้นสุดที่บ่อพักสุดท้าย (Polishing Pond) โดยมีบ่อพักให้ตกตะกอนจำนวน 1 บ่อ บ่อบำบัดจำนวน 3 บ่อ และบ่อพักสุดท้ายจำนวน 1 บ่อ ก่อนที่น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้วจะถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยจากการทดลองพบว่า การพักน้ำในบ่อจะใช้เวลาทั้งหมด 7 วัน เพราะหากนานกว่านั้นจะทำให้เกิดภาวะเน่าซ้ำซาก (nutrification) ของน้ำจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์


จุลินทรีย์กำจัดกลิ่นเหม็น ไขมัน ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้ จุลินทรีย์ชีวภาพ ดูเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://www.bcithailand.net/บำบัดน้ำเสีย/